มารู้จักกับ ทิม คุก CEO ของแบรนด์ Apple 

เจ้าของแบรด์ สำหรับคนที่ใช้โทรศัพท์มือถือแบรนด์ IPhone

เจ้าของแบรนด์ ต่างก็รู้กันดีว่าผู้ที่ริเริ่มก่อตั้งบริษัท apple และทำให้โทรศัพท์มือถือแบรนด์นี้มีชื่อเสียงโด่งดัง คนรู้จักกันทั่วโลกก็คือ สตีฟ จ็อบส์ แต่เมื่อสตีผ จ็อบส์ได้เสียชีวิตลงก็มี CEO ท่านใหม่ขึ้นมาแทนนั่นก็คือ ทิม คุก ซึ่งเป็น CEOคนปัจจุบันนั่นเอง แรกๆ ทิม คุก ยังไม่ค่อยมีคนเชื่อถือในฝีมือของเขามากนัก หลายคนบอกว่ามาแทนที่สตีฟ จ๊อบส์ไม่ได้แน่ๆ 

แต่กว่า 8 ปีที่ผ่านมา ทิม คุก ก็ได้แสดงฝีมือให้ทุกคนทั่วโลกได้ประจักษ์กันมาแล้ว เขาก็เป็นหนึ่งใน CEO ที่เก่งและมีความสามารถเหมือนกัน เขาสามารถพาบริษัท apple ให้ผ่านพ้นวิกฤตการณ์มาแล้วหลายครั้งในช่วงที่เศรษฐกิจของประเทศสหรัฐมีปัญหา จน ณ ปัจจุบันเขาสามารถติด 1 ใน10 ของโลกที่เป็นผู้ทรงอิทธิพลในการที่เขาได้เข้ามาทำการเปลี่ยนแปลงรูปแบบใหม่ๆให้กับแอปเปิล

 ปัจจุบัน ทิม คุก เป็นประธานบริหารงานให้กับแอปเปิล องค์ ซึ่งเป็นบริการที่มีอิทธิพลในเรื่องโทรศัพท์มือถือและเทคโนโลยีใหม่ๆ จะเห็นได้ว่าบริษัทแอปเปิลได้มีการขยายธุรกิจ และมีสินค้ามากมายออกมาสู่ตลาดโลก และสินค้าทุกตัวที่ออกมาก็เป็นที่ยอมรับขงคนทั้งโลก

สร้างกำไรให้กับบริษัทแอปเปิลอย่างมากมายมหาศาล

และยังมีแนวโน้มว่าจะเติบโตขึ้นไปอีกเรื่อย ทิม คุก ได้แวะมาเที่ยวที่เมืองไทยและมีโอกาสไปตามสถานที่ที่นำสินค้าของแอปเปิลมาใช้งาน และก่อให้เกิดประโยชน์กับงานนั้นๆ เช่น โรงเรียนสาธิต นำผลิตภัณฑ์ของทางแอปเปิลมาใช้งานในสถานศึกษา เพื่อช่วยในเรื่องการจัดเก็บข้อมูลทางการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น 

ทั้งนี้ ทิม คุก ยังไมได้ไปเยี่ยมพนักงานบริษัทที่สาขาไอคอนสยามและพูดคุยกับลูกค้าที่มาใช้บริการของทางแอปเปิลด้วย ได้มีหนังสือพิมพ์ฉบับหนึ่งได้ไปขอสัมภาษณ์ถึงเหตุผลที่ ทิม คุก เดินทางมาเมืองไทย ซึ่งเข้าก็ได้ให้เหตุผลว่า เขาอยากมีดูว่าคนไทยที่ใช้ผลิตภัณฑ์ของบริษัทของเรา มีความรู้สึกอย่างไรกันบ้างเมื่อได้ใช้ผลิตภัณฑ์ มีคนพบปัญหาอะไรหรือไม่ และพอเขาได้มาเห็นว่าหลายๆที่ในเมืองไทย นำผลิตภัณฑ์ของบริษัทของเรามาพัฒนาทั้งทางด้านการเรียน การทำงานแล้วมีประสิทธิภาพมากขึ้น ทำให้เข้ารู้สึกประทับใจมาก

 

ไม่ว่าจะเป็นโรงเรียนนำคอมพิวเตอร์ และ ipad มาเป็นอุปกรณ์ประกอบการเรียนการสอน นักกีฬานำ apple watch

เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการออกำลังกาย เป็นต้น ซึ่งทาง ทิม คุก เองก็คิดจะมีการพัฒนาสินค้าออกมาให้รองรับกับการใช้ชีวิตของผู้คนให้มากยิ่งขึ้นไปเอง

โดยเขาหวังว่าบริษัทแอปเปิลในอีก 10 หรือ 20 ปีข้างหน้าก็จะยังเป็นผู้นำด้านเทคโนโลยีอยู่เหมือนเดิม

 

 

สนับสนุนโดย แทงบอลไม่มีขั้นต่ำ

ประวัติโทรศัพท์มือถือของคนแนว OnePlus 

ประวัติโทรศัพท์มือถือ       

ประวัติโทรศัพท์มือถือ เป็นอีกบริษัทที่ต้นแบบมาจาก Real me ที่มีอดีตผู้บริหารของบริษัท Oppo แยกตัวออกมก่อตั้งบริษัทโทรศัพท์มือถือใหม่ เพื่อทำตามความฝันของตัวเอง และก็สามารถทำได้ดี สินค้าเป็นที่รู้จักและติดตลาดด้วยคุณสมบัติของเครื่องที่เน้นสเปคแรง  ราคาถูก

สำหรับแบรนด์นี้มีการเปิดตัวออกสู่ตลาดเมื่อปี ค.ศ. 2013 เป็นบริษัทที่ผลิตจากประเทศจีน

ซึ่งมีการจำหน่ายโทรศัพท์มือถือรุ่นแรกคือ OnePlus one โดยเปิดตัวเมื่อวันที่ 23 เมษายน ค.ศ. 2014 แต่มีการวางจำหน่ายในวันที่ 25 เมษายน ค.ศ. 2014 ซึ่งบริษัท OnePlus มีสโลแกนของบริษัทคือ Never Settle ภายใต้แนวความคิดที่ว่า Simple , Bold idea : make a better phone  ซึ่งการเปิดตัวโทรศัพท์มือถือในครั้งแรกนั้น ออกสเปคและราคามาเพื่อฆ่า samsung เลยที่เดียว

เพราะในปีนั้นสมาร์ทโฟนที่มีรอม 16 GB และ 64 GB ถือได้ว่าเป็นรุ่นแรกที่มีการเปิดให้ใช้งานกัน จึงมีราคาที่ค่อยข้างสูงมาก โดย samsung จำหน่ายที่สองหมื่นกว่าบาท แต่สำหรับ OnePlus ราคาเพียงแค่ครึ่งเดียวของ Samsung ซึ่งขนาดเป็นเครื่องที่ฝากหิ้วมาจากต่างประเทศค่าเครื่องบวกกับค่าหิ้วแล้วก็ยังถูกกว่ากันเยอะ เรียกได้ว่าได้ชัยชนะไปเต็มๆ ถือว่าเป็น Flagship Killer ที่โหดสุดๆเลยทีเดียว

สำหรับโทรศัพท์มือถือยี่ห้อวันพลัสนั้น มีการผลิตออกมาให้มีฟีเจอร์เทียบเท่ากับยี่ห้อไอโฟนกับซัมซุงเลยที่เดียว

แต่ต่างกันที่ราคาเท่านั้น ซึ่งมีทั้งความหรูหราและราคาสามารถจับต้องได้ เน้นผู้ซื้อทุกระดับเพื่อที่ใครๆก็สามารถซื้อไปใช้งานได้ และซีอีโอที่กล้าออกมายืนหยัดแสดงจุดยืน ในการออกแบบโทรศัพท์มือถือในแบบที่ตนเองต้องการคือ คาร์ล  เพ่ย ซีอีโอหนุ่มของ OnePlus เขาเป็นคนจีนที่ไปโตที่อเมริกาและไปเรียนที่แคนาดา

สำหรับแบรนด์ OnePlus มีการวางจำหน่ายโทรศัพท์มือถือหลายประเทศด้วยและมีการวางจำหน่ายโทรศัพท์มือถือในไทยมาแล้วหลายรุ่น

และเป็นที่นิยมของคนไทยบางกลุ่มที่ไม่ได้เน้นชื่อแบรนด์แต่เน้นที่การใช้สอยมากกว่า สำหรับสถานที่จำหน่ายสามารถหาซื้อได้ตามร้านจำหน่ายมือถือทั่วไป 

         ความจริงแล้วมือถือที่มากจากประเทศจีน มีคุณสมบัติดีๆเด่นๆมากมายหลายยี่ห้อ ถ้าเราไม่มัวแต่ยึดติดกับแบรนด์ดังก็สามารถซื้อโทรศัพท์มือถือคุณภาพดีแต่ราคาถูกมาใช้ได้  ถ้าเทียบกันจริงเครื่องสมาร์ทโฟนส่วนใหญ่ที่ผู้คนซื้อมาใช้ก็เน้นแค่เพียงการโทรออก รับสาย และสามารถใช้งานแอพพลิเคชั่นต่างๆได้ เล่นเกม เล่นโซเชียวต่างๆได้

ก็ไม่จำเป็นต้องเน้นแบรนด์ที่คนรู้จักมากก็ได้ เพราะความต้องการใช้งานเหมือนกัน แต่ราคาที่ต่างกันเกินครึ่งจะช่วยให้เราประหยัดค่าใช้จ่ายได้มาก ยิ่งในช่วงเศรษฐกิจแบบปัจจุบันที่ต้องประหยัดแล้ว มือถือจากบริษัทจีนจะช่วยให้เราลดค่าใช้จ่ายได้เยอะ

การออกแบบชื่อโดเมน

การออกแบบชื่อโดเมน

การออกแบบชื่อโดเมน ในการออกแบบชื่อโดเมนบน Windows Server 20xx นั้น เราจะต้องวางแผนให้ดี โดยการเขียนแผนผังลงบนกระดาษ วาดโครงสร้างการเชื่อมต่อกับของเซิร์ฟเวอร์ทุกเครื่องบนระบบเน็ตเวิร์ก แล้ว

กำหนดชื่อของโดเมนและชื่อเซิร์ฟเวอร์ลงไป ตามขั้นตอนต่อไปนี้

ชื่อของ Root Domain เป็นชื่อแรกของระบบ จะต้องมีความหมายขององค์กรโดยตรง เช่น บริษัทนำเข้าอุปกรณ์เน็ตเวิร์กชื่อ BJT Communication ก็ควรตั้งชื่อของ Root Domain เป็น bjt.com หรือ bjt.co.th และที่สำคัญจะต้องไม่เปลี่ยนชื่อของ Root Domain โดยเด็ดขาด เพราะจะมีผลกระทบกับโดเมนย่อย ถึงแม้จะมีฟีเจอร์ Domain name Change มาให้ก็ตาม (แต่ในกรณีควบรวมกิจการอาจจะต้องเปลี่ยนได้)

สร้างโดเมนใหม่ที่อยู่ภายใต้ทรีเดียวกัน จะต้องใช้ชื่อที่สอดคล้องกับ Root Domain เช่น dealer.bjt.com เป็นการทำให้อยู่ใน DNS Namespace เดียวกัน

ตั้งชื่อของโดเมนย่อย (Sub Domain / Child Domain) ควรเป็นชื่อที่สื่อความหมาย เช่น มีสาขาอยู่ 4 ภาคของประเทศ อาจจะตั้งชื่อว่า north.bjt.com, south.bjt.com, east.bjt.com และ west.bjt.com หรือมีโดเมนย่อยภายในองค์กรหลายแผนก เช่น hrm.bjt.com, marketing.bjt.com และ it.bjt.com

ในการนำชื่อโดเมนที่จดทะเบียนเอาไว้บนอินเทอร์เน็ตมมาเป็นชื่อโดเมนขององค์กร จะเหมาะสำหรับหน่วยงานที่ให้บริการเผลแพร่ข้อมูลแก่ลูกค้า สะดวกในการตั้งชื่อบัญชีอีเมล เและใช้ชื่อบัญชีอีเมลตัวนี้ในการรับ – ส่งอีเมลบนอินเทอร์เน็ตได้ทันที แต่ต้องระวังในเรื่องความปลอดภัย เพราะ “แฮกเกอร์” กำลังหาทางเจาะเข้ามาในระบบของเรา ผู้ดูแลระบบจะต้องติดตั้งไฟร์วอลล์ (Firewall) ให้กับองค์กร รวมทั้งกำหนดนโยบายเรื่องความปลอดภัยขึ้นมาด้วย

ฐานข้อมูลของ DNS

DNS เป็นฐานข้อมูลแบบกระจาย (Distribute Database) มีกลไกในการทำงานแบบไคลเอนต์ / เซิร์ฟเวอร์ โดยที่ DNS Server จะเก็บข้อมูลเพียงบางส่วนของแต่ละโดเมนเอาไว้ ไม่ได้เก็บข้อมูลของ DNS ไว้ทั้งหมด ในเวลาที่ไคลเอนต์ร้องขอไอพีแอดเดรสของเว็บไซต์หนึ่ง ถ้าเครื่อง DNS Server ไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับเว็บไซต์นี้ ก็จะส่งการร้องขอนี้ไปยัง DNS Server ในระดับสูงอีกทีหนึ่ง และถ้ายังหาไม่เจอก็จะส่งไปค้นหากับ Domain Root Server ต่อไป

การเก็บฐานข้อมูล DNS ของ Windows Server จะมีอยู่ 2 แบบ คือ เก็บไว้ในไดเรกทอรี \Windows\system32\dns และเก็บไว้ในฐานข้อมูลที่เรียกว่า โซน