จุฬา ดัน Statuups  Deep Tech กู้เศรษฐกิจไทยด้วยนวัตกรรม  

     จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเปิดคลับ Chula Spinoff  ปั้น 50 บริษัทสตาร์ทอัพสาย Deep Tech ผลักดันเป็นนวัตกรรมธุรกิจแถวหน้า  จุฬา ดัน Statuups  Deep Tech  เพื่อช่วยฟื้นฟูเศรษฐกิจไทยจากผลกระทบในช่วง covid นายทีนพร้อมขับเคลื่อนเศรษฐกิจให้เติบโตได้ในระยะยาวค่ะ  

คลับChula Spinoff นอกจากจะเป็นการรวมตัวกันของสตาร์ทอัพที่มาจากงานวิจัยหลักหลายสาขาแล้วยังเป็นเหมือนกับชมรมแล้วก็พื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้สมาชิกในกลุ่มได้ร่วมแชร์ประสบการณ์ในการพัฒนางานวิจัยด้วยนะคะ

       เรียกได้ว่าถ้าอยากเริ่มต้นพัฒนานวัตกรรมแต่ไม่รู้จะเริ่มต้นอย่างไรก็สามารถเข้ามาพูดคุยกับทีมคณาจารย์  ทีมวิจัยและบริษัทสตาร์ทอัพที่พร้อมจะให้ คำแนะนำกันอย่างเต็มที่ได้ที่นี่เลยค่ะ 

โดยศาสตราจารย์ ดร. บัณฑิตเอื้ออาภรณ์อธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้เปิดเผยถึงโจทย์ใหญ่ที่ท้าทายมากๆของไทยในตอนนี้คือการเร่งฟื้นฟูเศรษฐกิจที่ได้รับผลกระทบอย่างหนักในช่วง 2 ปีที่ผ่านมาซึ่งมองว่าแนวทางแก้ไขในตอนนี้

        นอกจากการส่งออกการเปิดประเทศรับนักท่องเที่ยวและมาตรการเยียวยาและกระตุ้นเศรษฐกิจภายในประเทศแล้วประเทศไทยต้องมีเครื่องยนต์เศรษฐกิจตัวใหม่เข้ามาเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันกับประเทศชั้นนำของโลกด้วยค่ะซึ่งเครื่องยนต์เศรษฐกิจตัวที่ว่านี้ก็คือการรวมกลุ่ม  Deep Tech Statups

แนะนำผลงานวิจัยของคณาจารย์และนักวิจัยจุฬาฯพร้อมแปลงความรู้ให้เป็นนวัตกรรมที่จะช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจได้จริงพี่จะช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจได้จริงตัวกลับเป็นกลุ่มของคณาจารย์ที่เกิดขึ้นเนื่องจากการแปลงความรู้ไปเป็นผลิตภัณฑ์อยู่ประมาณ 50 บริษัทมูลค่าวันนี้ก็ประมาณ 1.7 หมื่นล้านบาท

หรือประมาณหมื่นหกพัน 700 ล้านเรายังมีความสามารถในการที่จะแปลงความรู้ไปเป็นผลิตภัณฑ์รับใช้สังคมได้และไม่จำกัดเฉพาะอยู่ที่จุฬาฯมหาวิทยาลัยอื่นหรือคนที่มีความสนใจเฉพาะตัวอื่นๆก็สามารถทำได้ตัวนี้เป็นตัวที่พิสูจน์ให้เห็นว่าเราสามารถแปลงจากความรู้ไปเป็นนวัตกรรมรับใช้สังคมซึ่งขณะนี้ทางจุฬาตอบพร้อมจะเป็นเอามากกว่า 50 บริษัทแล้วนะคะ

       โดยมีบริษัทไบยาไฟโตฟาร์มจำกัดผู้พัฒนาวัคซีนป้องกัน covid จุฬาไบยานำขบวนร่วมด้วยอีกหลายบริษัทเลยค่ะโดยทางจุฬาตั้งเป้าให้มูลค่าของทั้ง statups และ Chula Spinoff ขยายตัวอย่างต่อเนื่องแตะห้าหมื่นล้านบาทภายใน 3 ปี ขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยให้เติบโตอย่างก้าวกระโดดและศาสตราจารย์ดรนายแพทย์สิริฤกษ์ทรงศิวิไลปลัดกระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์วิจัย

และนวัตกรรมได้กล่าวย้ำถึงการสนับสนุนให้คณาจารย์และนักวิจัยของมหาวิทยาลัยนำงานวิจัยไปใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างเป็นรูปประธรรมซึ่งทางกระทรวงพร้อมผลักดันในทุกเรื่องค่ะตัวอย่างที่ชัดเจนก็คือการขับเคลื่อนกฎหมายสนับสนุนให้ผู้รับทุนสามารถเป็นเจ้าของผลงานวิจัยที่ได้รับทุนจากหน่วยงานของรัฐได้

ซึ่งจะช่วยแก้ปัญหาเรื่องสิทธิความเป็นเจ้าของผลงานวิจัยระหว่างหน่วยงานให้ทุนซึ่งตรงนี้ก็ถือว่าเป็นการปลดล็อคอุปสรรคในวงการวิจัยไม่ให้อยู่แค่บนหิ้งแต่จะช่วยผลักดันให้พัฒนาจนเกิดเป็นนวัตกรรมได้จริงเลยทีเดียวค่ะ 

 

สนับสนุนเรื่องราวโดย    Ufabet เข้าสู่ระบบ